......
|
“พายุสุริยะ”มหันตภัยเงียบที่คุกคามโลก
(ผู้จัดการ Online วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546) |
|
ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง
วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2547) |
|
ภาพจากปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
(photos of venus transit) (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง
วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2547) |
|
พระอาทิตย์ทรงกลดในกรุงเทพฯ
(กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง
วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2547) |
|
การประชุมสัมมนาทางวิชาการ
เรื่อง "ดาราศาสตร์และดาราศาสตร์ฟิสิกส์ไทย ประจำปี 2547"
(กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2547) |
|
คำถาม – คำตอบเรื่องดาวเคราะห์ดวงใหม่ (บทสัมภาษณ์พิเศษ รศ.ดร.เดวิด รูฟโฟโล
9 สิงหาคม พ.ศ. 2548) |
--------------------------------------------------------
.......
ภัยธรรมชาติที่ไม่ใช่มหันตภัย
ศ.ดร.เดวิด รูฟโฟโล
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
สิ่งที่เกิด หรือไม่เกิด จากพายุสุริยะ
· ไม่เคยทำให้ มนุษย์ตาย มนุษย์บาดเจ็บ สิ่งปลูกสร้างพัง (ไม่เคยเกิดแบบภาพยนตร์ 2012)
·
บางครั้ง เคยมีผลกระทบต่อ
ดาวเทียม (และการสื่อสาร) ยานอวกาศ
เครื่องบินใกล้ขั้วโลกเหนือ
ระบบไฟฟ้า
(โดยเฉพาะในประเทศใกล้ขั้วโลกเหนือ)
น่าจะกระทบนักบินอวกาศ
หากไปดวงจันทร์หรือดาวอังคาร ฯลฯ
·
อาจเป็นไปได้ที่จะกระทบคนทั่วไปในทางอ้อม
ะ
มีพายุสุริยะครั้งรุนแรงไหม
· ควรจะมีพายุสุริยะเกิดขึ้นบ้างในช่วงปี พ.ศ. 2554-2560 (ค.ศ. 2011-2017)
· อาจมี
1-2
ครั้งที่มีผลกระทบต่อกิจกรรมของมนุษย์
· มีความเป็นไปได้ตลอดช่วง ไม่ใช่เฉพาะปี
พ.ศ. 2556
(ค.ศ.
2013)
· แต่ไม่มีเหตุผลแน่ชัดว่าพายุสุริยะควรจะรุนแรงมากกว่าปกติ
โอกาสในการที่จะเกิดเกิดพายุสุริยะนั้น เราสามารถสังเกตได้จากผิวดวงอาทิตย์
(โฟโตสเฟียร์) ได้แก่
· จุดมืด (sunspots): เพียงสว่างน้อยลง (อุณหภูมิต่ำกว่า)
· จุดมืดเป็นขั้วแม่เหล็ก
· มีจำนวนมากทุก ๆ 11 ปี
§ มากที่สุดเมื่อ ~ พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000)
§ น้อยที่สุดเมื่อ ~ พ.ศ.2551 (ค.ศ.2008)
ผิวดวงอาทิตย์อุณหภูมิประมาณ 6000 K ... แต่ในจุดมืดประมาณ 4000 K
วัฏจักรจุดมืดที่ดวงอาทิตย์
ภาพของดวงอาทิตย์ในรังสี X ขณะมีจุดมืดจำนวนมาก
ดวงอาทิตย์จะสะสมพลังงานแม่เหล็กจนระเบิดออกมาเป็นพายุสุริยะ ซึ่งก็คืออนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ (รังสีคอสมิกชนิดหนึ่ง)
ลมสุริยะมาจากบรรยากาศดวงอาทิตย์ออกมาทุกทิศทุกทางตลอดเวลาและกระทบเส้นสนามแม่เหล็กของโลก
Image credit: K. Endo, Nikkei Science Inc.
สภาพอวกาศ (Space Weather)
ทำไมรัฐมนตรีกลาโหมของสหราชอาณาจักรถึงกังวล
· เขาแถลงข่าวเรื่องพายุสุริยะ ควบกับ
·
ศัตรูจงใจใช้อาวุธนิวเคลียร์ระเบิดในบรรยากาศ
:
พัลส์แม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic pulse)
พัลส์ E1 (<10-6 s) ทำลายชิปปกติในรัศมีพันๆ กม.
พัลส์
E2 (10-6-1 s)
คล้ายกับฟ้าผ่า
พัลส์
E3 (1-1000 s)
คล้ายกับพายุสุริยะประเภท
CME
มาถึงโลก (บีบสนามแม่เหล็กโลก เกิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง)
พายุสุริยะมีแค่พัลส์ E3
พัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าที่คาดว่าจะเกิดจากการระเบิดนิวเคลียร์ในบรรยากาศโลก
เนื่องจากพายุสุริยะ ก็คือรังสีคอสมิกชนิดหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจและมีความรู้ทางด้านฟิสิกส์ดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น ในที่นี้ก็ขออธิบายเกี่ยวกับรังสีคอสมิกให้ผู้อ่านได้เข้าใจ
รังสีคอสมิกคือ ...
· อนุภาคพลังงานสูงหรือรังสีแกมมาจากนอกโลก
· สสารธรรมดาที่ถูกเร่งให้มีพลังงานสูง ได้แก่ p, 4He, 12C, 16O, ... (ions) e-, γ, μ+, μ-, n,
· สาเหตุหลักที่มีการกลายพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
· มีแหล่งกำเนิดจาก
ภายในระบบสุริยะ เช่น ดวงอาทิตย์ (solar
energetic particles)
ภายนอกระบบสุริยะ (เช่น galactic cosmic rays)
ภาพแสดงรังสีคอสมิกจากอวกาศเมื่อมากระทบกับชั้นบรรยากาศของโลก
Image credit: www.invisiblemoose.com (WALTA group)
แหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิกจากกาแล็กซี (galactic cosmic
rays) ส่วนใหญ่ถึงเร่งโดยคลื่นกระแทก (shocks)
ที่เศษบริเวณเศษเหลือของซูปเปอร์โนวา ( supernova
remnants) เช่น Cygnus
Cygnus
ปัจจุบันเรามีเครื่องตรวจวัดนิวตรอนซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย คือ
สถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร-
ยอดดอยอินทนนท์
!
· ตรวจวัดจำนวนรังสีคอสมิก นาทีต่อนาที จนรอบทศวรรษ
· อาจใช้ในการพยากรณ์สภาพอวกาศ [Leerungnavarat et al. 2003]
· รังสีคอสมิกชนกับบรรยากาศโลก แล้วก่อให้เกิดอนุภาคย่อย รวมนิวตรอน
· ระดับความสูงสำคัญมาก !
· เมืองไทย อยู่ในตำแหน่งพิเศษ
· กลุ่มวิจัยของเรามีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดนิวตรอน [Bieber et al. 2002, 2004, 2005, Ruffolo et al. 2006]
งานวิจัยที่มีอยู่ในประเทศไทย
ภาพสถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร ขณะเตรียมการติดตั้งเครื่องตรวจวัดนิวตรอน
เรียบเรียงโดย ไพศาล ตู้ประกาย
----------------------------------------------------------
ข่าวปี พ.ศ. 2552
เดือน ตุลาคม 2552 |
เดือน พฤศจิกายน 2552 |
เดือน ธันวาคม 2552 |
ข่าวปี พ.ศ. 2551
ข่าวปี พ.ศ. 2550
เดือน ธันวาคม 2550 |
ข่าวปี พ.ศ. 2549
ข่าวปี พ.ศ. 2548
ข่าวปี พ.ศ. 2547
เดืือน มกราคม 2547 |
เดือน กุมภาพันธ์ 2547 |
เดือน มีนาคม 2547 |
[home]
[about us] [staff members] [alumni] [news] [articles & presentations] [research papers]
[Princess Sirindhorn
neutron monitor]
[FAQs] [glossary] [links] [contact us]